แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
๑. เรื่อง กล้วยกับวิถีชีวิตของคนไทย
๒. ชื่อผู้เสนอโครงงาน
๒.๑. นางสาวกุลธิดา ชาติภัย
๒.๒. นางสาวอัญชนา แซ่ตัน
๒.๓. นางสาวฐิติมา สง่าเอี่ยม
๒.๔. นางสาวสุจิรัตน์ แสงเดือน
๓. ครูที่ปรึกษาโครงงาน ครูเชษฐา เถาวัลย์ และ ครูโสภิตา สังฆะโณ
๔. หลักการและเหตุผล
กล้วยเป็นพืชล้มลุกขนาดใหญ่ จัดอยู่ในตระกูล Musaceae มีถิ่นกำเนิดในแถบตะวันออกเฉียงใต้ เจริญเติบโตได้ดีในดินแทบทุกชนิด โดยเฉพาะอาการอบอุ่นและชุ่มชื้น เป็นพืชปลูกง่ายไม่ยุ่งยาก ในการบำรุงรักษาและให้ผลผลิตตลอดปี จึงมีการขยายพันธุ์กันอย่างแพร่หลาย สำหรับประเทศไทยมีการปลูกกล้วยเพื่อบริโภค ตั้งแต่ระดับครัวเรือนจนถึงการปลูกเพื่อการจำหน่ายในระดับอุตสาหกรรม กล้วยจัดเป็นพืชเศรษฐกิจพืชหนึ่งที่สร้างรายได้ให้กับเกษตรกรทั่วทุกภาคของประเทศ การใช้ประโยชน์จากกล้วยนั้น พบว่า กล้วยให้ประโยชน์ในทุกส่วนตั้งแต่ลำต้น ใบ และผล ในส่วนของลำต้นใช้เป็นอาหารสัตว์ แปรรูปเป็นเชือกกล้วยและปุ๋ย ส่วนใบใช้ประดิษฐ์งานด้านศิลปะและเป็นภาชนะบรรจุอาหาร ผลของกล้วยอุดมด้วยวิตามินและเกลือแร่ที่ให้ประโยชน์แก่ร่างกายใช้รับประทานสดและแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ได้หลายชนิด
ในบางฤดูกาลผลผลิตของกล้วยจะมีมากกว่าการบริโภค ทำให้บริโภคไม่ทันและราคาตก เป็นผลให้ใช้ประโยชน์ได้น้อยลงการแปรรูปกล้วยจึงเป็นแนวทางหนึ่งที่สามารถจะแก้ปัญหาผลิตผลมากเกินได้ นอกจากนั้นการแปรรูปกล้วยยังอาจทำให้เกิดการสร้างรายได้ให้กับครอบครัวและพัฒนาเป็นอุตสาหกรรมได้ และต้นกล้วยที่เหลือทิ้งเนื่องจากถูกตัดเอาผลไปบริโภคแล้วนั้น สามารถนำมาเพิ่มมูลค่าได้โดยการนำมาทำเป็นเส้นใยและกระดาษ
จากข้อความข้างต้น คณะผู้จัดทำได้เห็นถึงความสำคัญของกล้วยที่อยู่คู่กับวิถีชีวิตคนไทยมาอย่างยาวนาน กล้วยมีประโยชน์มากมาย สามารถนำทุกส่วนของกล้วยมาทำประโยชน์ได้หมด จึงมีแนวคิดที่จะจัดทำโครงงานนี้ขึ้นเพื่อให้ผู้ที่สนใจได้เห็นถึงประโยชน์มากมายของกล้วยและช่วยกันรักษากล้วยไม่ให้สูญหายไปจากวิถีชีวิตคนไทย จึงจัดทำโครงงานในรูปแบบของบล็อก (blog) เพื่อให้ทุกคนสามารถเข้ามาศึกษาหาความรู้มาศึกษาหาความรู้และเผยแพร่เรื่องกล้วยกับวิถีชีวิตของคนไทยให้มากยิ่งขึ้น
กล้วยเป็นพืชล้มลุกขนาดใหญ่ จัดอยู่ในตระกูล Musaceae มีถิ่นกำเนิดในแถบตะวันออกเฉียงใต้ เจริญเติบโตได้ดีในดินแทบทุกชนิด โดยเฉพาะอาการอบอุ่นและชุ่มชื้น เป็นพืชปลูกง่ายไม่ยุ่งยาก ในการบำรุงรักษาและให้ผลผลิตตลอดปี จึงมีการขยายพันธุ์กันอย่างแพร่หลาย สำหรับประเทศไทยมีการปลูกกล้วยเพื่อบริโภค ตั้งแต่ระดับครัวเรือนจนถึงการปลูกเพื่อการจำหน่ายในระดับอุตสาหกรรม กล้วยจัดเป็นพืชเศรษฐกิจพืชหนึ่งที่สร้างรายได้ให้กับเกษตรกรทั่วทุกภาคของประเทศ การใช้ประโยชน์จากกล้วยนั้น พบว่า กล้วยให้ประโยชน์ในทุกส่วนตั้งแต่ลำต้น ใบ และผล ในส่วนของลำต้นใช้เป็นอาหารสัตว์ แปรรูปเป็นเชือกกล้วยและปุ๋ย ส่วนใบใช้ประดิษฐ์งานด้านศิลปะและเป็นภาชนะบรรจุอาหาร ผลของกล้วยอุดมด้วยวิตามินและเกลือแร่ที่ให้ประโยชน์แก่ร่างกายใช้รับประทานสดและแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ได้หลายชนิด
ในบางฤดูกาลผลผลิตของกล้วยจะมีมากกว่าการบริโภค ทำให้บริโภคไม่ทันและราคาตก เป็นผลให้ใช้ประโยชน์ได้น้อยลงการแปรรูปกล้วยจึงเป็นแนวทางหนึ่งที่สามารถจะแก้ปัญหาผลิตผลมากเกินได้ นอกจากนั้นการแปรรูปกล้วยยังอาจทำให้เกิดการสร้างรายได้ให้กับครอบครัวและพัฒนาเป็นอุตสาหกรรมได้ และต้นกล้วยที่เหลือทิ้งเนื่องจากถูกตัดเอาผลไปบริโภคแล้วนั้น สามารถนำมาเพิ่มมูลค่าได้โดยการนำมาทำเป็นเส้นใยและกระดาษ
จากข้อความข้างต้น คณะผู้จัดทำได้เห็นถึงความสำคัญของกล้วยที่อยู่คู่กับวิถีชีวิตคนไทยมาอย่างยาวนาน กล้วยมีประโยชน์มากมาย สามารถนำทุกส่วนของกล้วยมาทำประโยชน์ได้หมด จึงมีแนวคิดที่จะจัดทำโครงงานนี้ขึ้นเพื่อให้ผู้ที่สนใจได้เห็นถึงประโยชน์มากมายของกล้วยและช่วยกันรักษากล้วยไม่ให้สูญหายไปจากวิถีชีวิตคนไทย จึงจัดทำโครงงานในรูปแบบของบล็อก (blog) เพื่อให้ทุกคนสามารถเข้ามาศึกษาหาความรู้มาศึกษาหาความรู้และเผยแพร่เรื่องกล้วยกับวิถีชีวิตของคนไทยให้มากยิ่งขึ้น
๕. หลักการ ทฤษฏีและเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
๕.๑ ประวัติของกล้วย
๕.๒ ชนิดของกล้วย
๕.๓ ประโยชน์ของกล้วย
๕.๔ กล้วยกับวิถีชีวิตของคนไทย
๕.๒ ชนิดของกล้วย
๕.๓ ประโยชน์ของกล้วย
๕.๔ กล้วยกับวิถีชีวิตของคนไทย
๕.๕ ประวัติของบล็อก
๕.๖ การใช้งานบล็อก
๕.๗ บล็อกซอฟต์แวร์
๕.๘ ประโยชน์ของบล็อก
๕.๙ เป้าหมายการทำบล็อก ของตนเอง
๖. วัตถุประสงค์ของโครงงาน
๖.๑ เพื่อนำสื่อคอมพิวเตอร์ในการสร้าง Blog ในการนำเสนอผลงาน
๖.๒ เพื่อนำความรู้จากการศึกษาพัฒนาเป็นอาชีพในอนาคตได้
๖.๓ เพื่อศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่น
๖.๑ เพื่อนำสื่อคอมพิวเตอร์ในการสร้าง Blog ในการนำเสนอผลงาน
๖.๒ เพื่อนำความรู้จากการศึกษาพัฒนาเป็นอาชีพในอนาคตได้
๖.๓ เพื่อศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่น
๗. ขอบเขตของโครงงาน
๗.๑ รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับกล้วยในประเทศไทย
๗.๒ เวลาของการดำเนินงาน คือ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕
๗.๓ แหล่งค้นคว้าข้อมูลคือ ห้องสมุดและอินเทอร์เน็ต
๘. เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนา
๘.๑ บล็อก (blog)
๘.๒ คอมพิวเตอร์
๘.๓ กล้องถ่ายรูป
๙. ขั้นตอนวิธีการดำเนินงาน
๗.๑ รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับกล้วยในประเทศไทย
๗.๒ เวลาของการดำเนินงาน คือ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕
๗.๓ แหล่งค้นคว้าข้อมูลคือ ห้องสมุดและอินเทอร์เน็ต
๘. เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนา
๘.๑ บล็อก (blog)
๘.๒ คอมพิวเตอร์
๘.๓ กล้องถ่ายรูป
๙. ขั้นตอนวิธีการดำเนินงาน
การดำเนินการ
|
วันที่/ระยะเวลาที่ดำเนินการ
|
ผู้รับผิดชอบ
|
กำหนดหัวข้อโครงงาน
|
๒๔-๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๕
|
สมาชิกทุกคน
|
เสนอโครงร่างโครงงาน
|
๑ ธันวาคม - ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖
|
ฐิติมา สง่าเอี่ยม , กุลธิดา
ชาติภัย
|
ลงพื้นที่รวบรวมข้อมูล
|
๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๕
|
สมาชิกทุกคน
|
วิเคราะห์ข้อมูล
|
๑-๘ ธันวาคม ๒๕๕๕
|
สุจิรัตน์
แสงเดือน , อัญชนา แซ่ตัน
|
ออกแบบเว็บไซต์
|
๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๕
|
อัญชนา
แซ่ตัน , ฐิติมา สง่าเอี่ยม
|
พัฒนาเว็บไซต์
|
๑๒ มกราคม ๒๕๕๖
|
กุลธิดา
ชาติภัย , สุจิรัตน์ แสงเดือน
|
ทดสอบและแก้ไขระบบ
|
๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖
|
สมาชิกทุกคน
|
นำเสนอโครงงาน
|
๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖
|
สมาชิกทุกคน
|
ประเมินผลโครงงาน
|
๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖
|
คุณครูเชษฐา กับคุณครูโสภิตา
|
๑๐. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
๑๐.๑ สามารถใช้สื่อคอมพิวเตอร์ในการสร้าง Blog ในการนำเสนอผลงานได้
๑๐.๒ สามารถนำความรู้ที่ได้จากการทำโครงงาน มาเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพ
๑๐.๓ ได้ความรู้จากการศึกษาเรื่องของ กล้วย ในด้านต่างๆ
๑๐.๑ สามารถใช้สื่อคอมพิวเตอร์ในการสร้าง Blog ในการนำเสนอผลงานได้
๑๐.๒ สามารถนำความรู้ที่ได้จากการทำโครงงาน มาเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพ
๑๐.๓ ได้ความรู้จากการศึกษาเรื่องของ กล้วย ในด้านต่างๆ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น